|
ประโยชน์การใช้งาน |
|
|
|
|
|
1) การใช้สวิตช์ลูกลอยควบคุมระดับน้ำ
เพื่อป้อนกันไม่ให้ปั๊มทำงานโดยปราศจากน้ำ (กันน้ำแห้ง) |
|
|
|
|
ลักษณะการทำงาน |
|
|
|
|
|
สวิตช์ลูกลอยจะตัดวงจรการทำงานของปั๊มน้ำในขณะที่ระดับน้ำในถังลดลงถึงจุดที่ตั้งไว้
และจะสั่งการให้ปั๊มน้ำทำงานในขณะที่ระดับน้ำ |
|
|
ได้เพิ่มสูงถึงจุดที่ตั้งไว้ |
|
|
|
|
|
2) การใช้สวิตช์ลูกลอยควบคุมระดับน้ำ
เพื่อป้อนกันน้ำล้นถังและสั่งให้ปั๊มน้ำทำงานก่อนน้ำจะหมด |
|
|
|
|
ลักษณะการทำงาน |
|
|
|
|
|
สวิตช์ลูกลอยจะสั่งให้ปั๊มน้ำทำงานในขณะที่ระดับน้ำในถังลดลงถึงจุดที่ตั้งไว้
จากนั้น ขณะที่ระดับน้ำได้เพิ่มสูงถึงจุดที่ตั้งไว้ (น้ำเต็ม) |
|
|
สวิตช์ลูกลอยจะตัดวงจรการทำงานของปั๊ม |
|
|
|
|
|
3) การใช้สวิตช์ลูกลอยควบคุม
เพื่อป้อนกันน้ำล้นถังที่จ่ายเข้าและป้องกันน้ำแห้งในแหล่งน้ำดูดของปั๊ม
โดยใช้สวิตช์ลูกลอยพร้อมกัน 2 ชุด |
|
ลักษณะการทำงาน |
|
|
|
|
|
สวิตช์ลูกลอยตัวที่ 1
จะสั่งให้ปั๊มน้ำทำงานในขณะที่ระดับน้ำในถังลดลงถึงจุดที่ตั้งไว้
จากนั้น |
|
|
|
|
ขณะที่ระดับน้ำได้เพิ่มสูงถึงจุดที่ตั้งไว้ (น้ำเต็ม)
สวิตช์ลูกลอยจะตัดวงจรการทำงานของปั๊ม |
|
|
|
|
สวิตช์ลูกลอยตัวที่ 2
จะตัดวงจรการทำงานของปั๊มขณะที่ระดับน้ำในแหล่งน้ำดูดลดลงถึงจุดที่ตั้งไว้ |
|
|
|
|
ป้องกันไม่ให้ปั๊มทำงานโดยปราศจากน้ำ |
|
|
|
|
หมายเหตุ |
ในกรณีปั๊มน้ำที่มีกำลังแรงม้าเกินกว่า 1.1 KW หรือ 1.5 แรงม้า
หรือปั๊มที่เป็นไฟ 3 เฟส(380V) ห้ามต่อไฟของปั๊มผ่านโดยตรงกับ |
|
|
|
สวิตช์ลูกลอย
ควรนำสายไฟของสวิตช์ลูกลอยต่อเข้าควบคุมการทำงานของคอยล์ไฟของสวิตช์แมคเนติก
โดยที่สวิตช์แมคเนติก |
|
|
|
จะแบกรับกระแสไฟของปั๊ม |
|
|
|
|